หลายคนคิดว่า “ไขมันในเลือดสูง” มาจากการกินอาหารที่มีไขมันเยอะ เช่น หมูสามชั้นหรือของทอด แต่คุณรู้ไหมว่า ไขมันในร่างกายส่วนใหญ่มาจาก “ตัวเราเอง” ต่างหาก! คอเลสเตอรอลในร่างกายมาจากไหน 80% ร่างกายสร้างขึ้นเอง 20% มาจากอาหารที่เรากิน ถึงแม้การคุมอาหารจะช่วยได้บ้าง แต่ก็ลดไขมันได้เพียง 10-15% เท่านั้น เพราะร่างกายสร้างคอเลสเตอรอลเองเป็นหลัก ตัวอย่างที่ชัดเจนคือดูได้จากการใช้ยาลดคอเลสเตอรอล ยาที่ช่วยยับยั้งการดูดซึมคอเลสเตอรอล จากทางเดินอาหาร สามารถลดคอเลสเตอรอลได้ประมาณ 10-15% เท่านั้น ยาที่ลดการสร้างคอเลสเตอรอลจากร่างกาย สามารถลดคอเลสเตอรอลได้ถึง 50% หรือครึ่งหนึ่งเลยทีเดียว แล้ว “ตัวการ” ที่ทำให้คอเลสเตอรอลสูงที่สุดคืออะไร คำตอบคือ “ความเครียด” เมื่อร่างกายเครียด ระบบในร่างกายจะสร้างคอเลสเตอรอลเพิ่มขึ้น เพื่อผลิตฮอร์โมนที่ใช้จัดการกับความเครียด อยากลดคอเลสเตอรอลอย่างมีประสิทธิภาพ 1. จัดการความเครียด เช่น ฝึกสมาธิ ออกกำลังกาย หรือทำกิจกรรมที่ผ่อนคลาย 2. ดูแลสุขภาพใจ เพราะใจที่สงบ จะช่วยลดฮอร์โมนความเครียด […]
Tag Archives: คอเลสเตอรอล
ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ คอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ซึ่งการประเมินระดับไขมันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป สามารถทำได้ง่าย ๆ ด้วยการคำนวณดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ตรวจระดับคอเลสเตอรอล นำค่าคอเลสเตอรอลรวม (Total Cholesterol) หารด้วยค่า HDL (ไขมันดี) หากผลลัพธ์มากกว่า 4 แสดงว่าคุณมีระดับคอเลสเตอรอลสูง การประเมินนี้ช่วยให้ทราบความเสี่ยงเบื้องต้นในการมีคอเลสเตอรอลสูง ซึ่งอาจเพิ่มโอกาสในการเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน ขั้นตอนที่ 2 ตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์ นำค่าไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) หารด้วยค่า HDL (ไขมันดี) หากผลลัพธ์มากกว่า 2 แสดงว่าคุณมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูง ความเสี่ยงจากไขมันในเลือดสูง คอเลสเตอรอลสูงอาจทำให้หลอดเลือดอุดตัน เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ไตรกลีเซอไรด์สูงทำให้ไขมันสะสมที่ตับ เกิดภาวะไขมันพอกตับ (Fatty Liver) และตับอักเสบได้ หากตับอักเสบเรื้อรัง อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งตับในระยะยาว […]
ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ คอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ซึ่งการประเมินระดับไขมันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป สามารถทำได้ง่าย ๆ ด้วยการคำนวณดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ตรวจระดับคอเลสเตอรอล นำค่าคอเลสเตอรอลรวม (Total Cholesterol) หารด้วยค่า HDL (ไขมันดี) หากผลลัพธ์มากกว่า 4 แสดงว่าคุณมีระดับคอเลสเตอรอลสูง การประเมินนี้ช่วยให้ทราบความเสี่ยงเบื้องต้นในการมีคอเลสเตอรอลสูง ซึ่งอาจเพิ่มโอกาสในการเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน ขั้นตอนที่ 2 ตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์ นำค่าไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) หารด้วยค่า HDL (ไขมันดี) หากผลลัพธ์มากกว่า 2 แสดงว่าคุณมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูง ความเสี่ยงจากไขมันในเลือดสูง คอเลสเตอรอลสูงอาจทำให้หลอดเลือดอุดตัน เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ไตรกลีเซอไรด์สูงทำให้ไขมันสะสมที่ตับ เกิดภาวะไขมันพอกตับ (Fatty Liver) และตับอักเสบได้ หากตับอักเสบเรื้อรัง อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งตับในระยะยาว การประเมินไขมันในเลือดด้วยวิธีนี้เป็นเพียงเบื้องต้นเท่านั้น ควรตรวจสุขภาพกับแพทย์อย่างสม่ำเสมอ และอย่าลืมปรับพฤติกรรม เช่น การทานอาหารเพื่อสุขภาพและออกกำลังกาย ใครคำนวณแล้วได้เท่าไหร่ มาแชร์กันได้นะคะ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือนัดหมาย Line […]
หากปล่อยให้มีไขมันในเลือดสูงจะทำให้เกิดการสะสมของไขมันในผนังหลอดเลือด ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายได้ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ภาวะหัวใจหยุดเต้น จึงควรคุมอาหารประเภทที่มีไขมันทรานส์ (Trans Fat) เพราะไขมันทรานส์ทําให้ค่า LDL ขึ้นสูงได้มากที่สุด ควรนอนให้เร็ว นอนก่อน 22.00 น. ถ้าเกิดเรานอนดีการฟื้นฟูฮอร์โมนของร่างกายจะทําได้ดี ควรรับประทานมื้อเย็นให้น้อย ไม่ควรรับประทานอาหารแคลอรี่สูงในมื้อเย็น เพราะคอเลสเตอรอลสร้างตอนกลางคืนได้มากขึ้น ปกติแล้ว 70%-80% ของไขมันที่อยู่ในเลือดเกิดจากร่างกายเราสร้างขึ้นเอง แล้วเกิดจากการรับประทานอาหาร 20%-30% ดังนั้นจึงควรหาอาหารเสริมที่ไปลดการสร้างคอเลสเตอรอลของร่างกาย นั่นคือ โพลิโคซานอล สารสกัดจากข้าวโพด และ Red Yest Rice สารสกัดจากยีสต์แดง หรือเสริม Lipizone ที่มีส่วนประกอบของ Red Yeast Rice, Policosanol ก็จะช่วยลดคอเลสเตอรอล ช่วยลด LDL และไตรกลีเซอไรด์ได้.สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือนัดหมายLine : https://line.me/R/ti/p/%40214byvpdWebsite : https://healthfocusclinic.co.th/Tel : 02-096-4945Location : The Grove Hathairaj […]