ทาง Health Focus Clinic รวบรวมความรู้ในด้านสุขภาพ
จาก หมออรรถ(อย่าฝากชีวิตไว้กับหมอ) เพื่อเป็นความรู้ให้กับทุกคน

เช็กให้ดี แค่ขี้เซาหรือเป็น “โรคง่วงนอนผิดปกติ” 😴

คุณเคยสงสัยตัวเองหรือไม่ว่าทำไมถึงรู้สึกง่วงนอนบ่อยครั้ง แม้กระทั่งหลังจากที่ได้นอนหลับพักผ่อนอย่างเต็มที่ในคืนที่ผ่านมา? การรู้สึกง่วงนอนอย่างต่อเนื่องอาจไม่ใช่เพียงแค่เรื่องของความเหนื่อยล้าจากการทำงานหรือการนอนไม่พอ แต่อาจเป็นสัญญาณของ “โรคง่วงนอนผิดปกติ” ซึ่งเป็นสภาวะที่อาจส่งผลร้ายแรงต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของคุณ และควรได้รับการรักษาอย่างถูกต้องค่ะ สัญญาณเสี่ยงโรคง่วงนอนผิดปกติ 1. มีความรู้สึกง่วงนอนตลอดเวลา: [...]

อ่านต่อ
วัยทองไม่ต้องกลัว❗ ดูแลได้ด้วยฮอร์โมน👌👩‍🦳👨‍🦳

นับวันร่างกายก็ถดถอยลง อายุมากขึ้น ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติ วันนี้เราจะมาไขข้อสงสัย เตรียมรับมือหาทางแก้และเรียนรู้ให้เท่าทัน ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในผู้ชายและผู้หญิงวัยกลางคนหรือที่เรียกง่าย ๆ ว่า ‘วัยทอง (Golden [...]

อ่านต่อ
3 อาการที่บอกว่า คุณเครียดมากเกินไป😰

ความเครียดเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต แต่หากสะสมมากเกินไป อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยไม่รู้ตัว โดยเฉพาะเมื่อ 80% ของโรคเรื้อรังมีสาเหตุมาจากความเครียด การรู้ทันสัญญาณเตือนจึงเป็นสิ่งสำคัญ ความเครียดส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร? ปัจจุบัน หลายคนมีความเครียดสูงโดยไม่รู้ตัว [...]

อ่านต่อ
ดูแลฮอร์โมน “คอร์ติซอล”  เพื่อรับมือกับความเครียด และคืนสมดุลให้ร่างกาย 

วันนี้เรามาทำความรู้จักกับฮอร์โมนที่หลายๆ คนน่าจะเคยได้ยินชื่อมาแล้ว นั่นก็คือ “คอร์ติซอล” หรือที่หลายคนรู้จักกันในนามว่า “ฮอร์โมนความเครียด” นั่นเองค่ะ คอร์ติซอลคืออะไร และสำคัญอย่างไร? คอร์ติซอล [...]

อ่านต่อ
ลิ่มเลือดอุดตันแน่! ถ้าปล่อยให้สิ่งนี้สูง

ลิ่มเลือดอุดตันเป็นภาวะที่อาจนำไปสู่โรคร้ายแรง เช่น หลอดเลือดอุดตันในปอด (Pulmonary Embolism) หรือ เส้นเลือดสมองตีบ (Stroke) ซึ่งหนึ่งในตัวบ่งชี้สำคัญที่ช่วยตรวจสอบความเสี่ยงนี้คือ ค่า [...]

อ่านต่อ
กินยาหลายตัว ระวังผลข้างเคียงสะสม! ⚠💊

ทุกวันนี้ ปริมาณการใช้ยาของหลายคนเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะผู้ที่ต้องพบแพทย์หลายแผนก อาจได้รับยาจากแต่ละแผนก 3-4 ตัว เมื่อรวมกันแล้วอาจกินยาหลายชนิดโดยไม่รู้ตัว ซึ่งอาจนำไปสู่ ผลข้างเคียงที่รุนแรงขึ้น ปัจจัยที่ทำให้เกิดผลข้างเคียงจากยา [...]

อ่านต่อ
ฮอร์โมน DHEA ต่ำ จะส่งผลเสียอย่างไรต่อร่างกาย?😰

DHEA คืออะไร DHEA (Dehydroepiandrosterone) เป็นฮอร์โมนสำคัญที่ช่วยจัดการความเครียด โดยปกติระดับควรอยู่ที่มากกว่า 280 µg/mL หากระดับฮอร์โมนนี้ลดต่ำลง อาจบ่งบอกว่าร่างกายเผชิญกับความเครียดหรือใช้งานฮอร์โมนนี้มากเกินไป [...]

อ่านต่อ
3 ค่าที่ต้องระวัง❗ เป็นสัญญาณเตือนเสี่ยงมะเร็ง🧬🩸

มีค่าการตรวจเลือด 3 ค่าที่มักสูงในคนที่เป็นมะเร็ง ซึ่งพบได้บ่อยเมื่อตรวจร่างกาย หากคุณมีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งหรือกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยง แนะนำให้ตรวจค่าต่อไปนี้ในการตรวจสุขภาพประจำปี 1. Serum Ferritin (ซีรัมเฟอร์ริติน) [...]

อ่านต่อ
5 อาหารบำรุงไต ดีต่อไต ห่างไกลโรค 

การบำรุงไตด้วยอาหารที่เหมาะสมเป็นหนึ่งในวิธีดูแลสุขภาพไตให้แข็งแรงและห่างไกลจากโรคต่างๆ อาหารที่ดีต่อไตควรมีโซเดียม คอเลสเตอรอล และไขมันในปริมาณต่ำ โดยหลักๆ จะเป็นอาหารเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ ผัก และผลไม้สด ต่อไปนี้คือ 5 [...]

อ่านต่อ
รู้หรือไม่? สุขภาพลำไส้ดี สุขภาพก็ดีตาม เพราะ 70% ของระบบภูมิคุ้มกันอยู่ที่ลำไส้

ทุกคนคงทราบดีว่าระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายคนเรานั้นมีความสำคัญที่สุด ภูมิไม่ตกไว้เป็นดีร่างกายจะได้แข็งแรง แต่ทราบมั้ยคะว่าระบบภูมิคุ้มกันแท้จริงแล้วมีความเกี่ยวเนื่องโดยตรงอย่างคาดไม่ถึงกับลำไส้ของเราค่ะ ลำไส้และระบบภูมิคุ้มกัน 70% ของระบบภูมิคุ้มกันของคนเรานั้นอยู่ที่ลำไส้ค่ะ เหตุเพราะในลำไส้นั้นเป็นที่อยู่ของหนึ่งในเม็ดเลือดขาวที่มีความสำคัญที่สุดนั่นคือเซลล์เพชฌฆาตหรือ NK Cell (Natural [...]

อ่านต่อ
ระวัง5 อาหารที่อาจทำร้ายไตโดยไม่รู้ตัว 

ใน 1 วันคนเราไม่ควรกินเกลือเกิน 1 ช้อนชา หรือน้ำปลาเกิน 3 ช้อนชา แต่จากการสำรวจกลับพบว่า คนไทยเราได้รับโซเดียมเกินพอดีถึงกว่า [...]

อ่านต่อ
ความดันสูงหากปล่อยไว้ไม่รักษา  อาจเพิ่มเสี่ยงอัลไซเมอร์ถึง 42%! 

หลายคนคงทราบกันดีว่า “ความดันโลหิตสูง” นั้นถือเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจและหลอดเลือด อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาล่าสุดเผยว่า ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงโดยไม่ได้รับการรักษาหรือควบคุมอย่างเหมาะสม ก็ยังอาจมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคสมองเสื่อมแบบอัลไซเมอร์ เมื่อเทียบกับผู้ที่ได้รับการรักษาความดันโลหิตอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 [...]

อ่านต่อ
“โลหิตจาง” ภาวะอันตรายจากเม็ดเลือดแดงต่ำ  เป็นแล้วต้องระวัง!

โลหิตจาง หรือ “Anemia” เป็นภาวะที่เกิดจากการที่ร่างกายมีจำนวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ ซึ่งเม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ในการนำออกซิเจนไปเลี้ยงทั่วร่างกายค่ะ เมื่อร่างกายมีปริมาณเม็ดเลือดแดงไม่เพียงพอ จะทำให้เกิดอาการต่างๆ เช่น รู้สึกเหนื่อยง่าย ซีด [...]

อ่านต่อ
ดูแลตัวเองอย่างไร เมื่อ “ไตรกลีเซอไรด์สูง”

ไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) เป็นไขมันที่พบในเลือดและมีส่วนสำคัญในการกักเก็บพลังงานที่ร่างกายไม่ได้ใช้ แต่หากมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูงเกินไป อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาได้ เช่น โรคหัวใจ หลอดเลือดตีบ และโรคตับอักเสบค่ะ ซึ่งสาเหตุของไตรกลีเซอไรด์สูงเกิดได้จากหลายปัจจัย [...]

อ่านต่อ
💡นี่คือเหตุผล…ว่าทำไมเราควรลด “โซเดียม” 🧂

โซเดียม (Sodium) เป็นเกลือแร่ที่จำเป็นต่อร่างกาย แต่การบริโภคโซเดียมมากเกินไปสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้อย่างรุนแรง! ดังนั้น เราจึงควรระวังการบริโภคโซเดียมให้พอเหมาะ วันนี้เราจะมาดูเหตุผลที่สำคัญกันค่ะ ว่าทำไมเราจึงควรลดโซเดียมในอาหาร! ผลกระทบระยะสั้น 1. [...]

อ่านต่อ
รู้หรือไม่? คอเลสเตอรอลสูง ไม่ได้เกิดจากอาหารเท่านั้น

หลายคนคิดว่า “ไขมันในเลือดสูง” มาจากการกินอาหารที่มีไขมันเยอะ เช่น หมูสามชั้นหรือของทอด แต่คุณรู้ไหมว่า ไขมันในร่างกายส่วนใหญ่มาจาก “ตัวเราเอง” ต่างหาก! คอเลสเตอรอลในร่างกายมาจากไหน [...]

อ่านต่อ
ไขมันในช่องท้อง (Visceral Fat) ไขมันตัวร้ายที่มองไม่เห็น แต่กลับอันตรายที่สุด

ไขมันในช่องท้อง (Visceral Fat) เป็นภัยร้ายที่ไม่ควรมองข้าม สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนไม่ว่าจะอ้วนหรือผอม หากไม่ดูแลการกินและการออกกำลังกาย ไขมันชนิดนี้สามารถนำพามาสู่โรคต่างๆ ได้มากมาย มาทำความรู้จักและเรียนรู้วิธีป้องกันไขมันในช่องท้องไปพร้อมกันค่ะ! ไขมันในช่องท้อง [...]

อ่านต่อ
ฮอร์โมน DHEA ต่ำ จะส่งผลเสียอย่างไรต่อร่างกาย?

DHEA คืออะไร DHEA (Dehydroepiandrosterone) เป็นฮอร์โมนสำคัญที่ช่วยจัดการความเครียด โดยปกติระดับควรอยู่ที่มากกว่า 280 µg/mL หากระดับฮอร์โมนนี้ลดต่ำลง อาจบ่งบอกว่าร่างกายเผชิญกับความเครียดหรือใช้งานฮอร์โมนนี้มากเกินไป [...]

อ่านต่อ
3 ค่าที่ต้องระวัง❗ เป็นสัญญาณเตือนเสี่ยงมะเร็ง🧬🩸

มีค่าการตรวจเลือด 3 ค่าที่มักสูงในคนที่เป็นมะเร็ง ซึ่งพบได้บ่อยเมื่อตรวจร่างกาย หากคุณมีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งหรือกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยง แนะนำให้ตรวจค่าต่อไปนี้ในการตรวจสุขภาพประจำปี 1. Serum Ferritin (ซีรัมเฟอร์ริติน) [...]

อ่านต่อ
วิธีดูง่าย ๆ ว่าไขมันสูงแล้วหรือยัง?✅

ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ คอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ซึ่งการประเมินระดับไขมันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป สามารถทำได้ง่าย ๆ ด้วยการคำนวณดังนี้ [...]

อ่านต่อ
ร่างพังแบบนี้ เสริมวิตามินอะไรดี?

การดูแลสุขภาพในวัยทำงานเป็นเรื่องที่ไม่ควรละเลย เพราะกิจวัตรประจำวันที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การทำงานหน้าจอคอมนานๆ ประชุมไม่หยุดหย่อน ไม่ค่อยได้พักผ่อนหรือออกกำลังกาย และการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ซึ่งทั้งหมดนี้อาจส่งผลให้ร่างกายเสียสมดุล ขาดวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็น แม้วิตามินและแร่ธาตุจะเป็นสารอาหารรอง แต่ก็มีบทบาทสำคัญในการรักษาและเสริมสร้างประสิทธิภาพของร่างกาย [...]

อ่านต่อ
 เช็กด่วน! 3 พฤติกรรมเสี่ยง “โรคตับ” เป็นง่ายแต่หายยาก

ตับเป็นอวัยวะสำคัญที่ทำงานหนักเพื่อกรองสารพิษ สร้างโปรตีน และเก็บพลังงาน แต่ไลฟ์สไตล์ปัจจุบันทำให้ โรคตับ กลายเป็นภัยใกล้ตัว รู้ตัวอีกทีก็อาจสายเกินแก้ มาดู 3 พฤติกรรมเสี่ยง [...]

อ่านต่อ
6 อาหารที่ควรระวัง  เพราะยิ่งกินบ่อย ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงมะเร็ง! 

ในยุคที่ใครก็เสี่ยงต่อโรคมะเร็ง สภาพแวดล้อมและอาหารที่เราทานเป็นส่วนสำคัญในการเพิ่มโอกาสเสี่ยง หากคุณยังทานอาหารเหล่านี้บ่อยๆ ควรเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่วันนี้! 1. อาหารแปรรูปและปรุงแต่ อาหารอย่างไส้กรอก เบคอน และเนื้อเค็มมักมีสาร ดินประสิว [...]

อ่านต่อ
 ควรระวัง! หากรับประทานแคลเซียมผิดฟอร์ม อาจเสี่ยงเกิดหลายโรคตามมา 

ท้องผูก ท้องอืด นิ่วในไต ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง หลอดเลือดแข็งตัวและเสื่อม โรคดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดต่างๆ ส่วนมากปัญหาของคนที่รับประทานแคลเซียม คือ การรับประทานแคลเซียมที่ดูดซึมได้ไม่ดี  [...]

อ่านต่อ
วิธีดูง่าย ๆ ว่าไขมันสูงแล้วหรือยัง?

ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ คอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ซึ่งการประเมินระดับไขมันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป สามารถทำได้ง่าย ๆ ด้วยการคำนวณดังนี้ [...]

อ่านต่อ
เคยมีอาการ “มือสั่น” กันบ้างไหมคะ?

 อาการเช่นนี้อาจเกิดขึ้นเมื่อเราตกอยู่ในสถานการณ์ที่กดดัน เช่น ตื่นเต้น เครียด วิตกกังวล หรืออาจมาจากการดื่มกาแฟมากเกินไป  แต่ถ้าใครมีอาการมือสั่นอย่างรุนแรงและไม่สามารถหาสาเหตุได้ นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคบางอย่าง ซึ่งถ้าไม่ได้รับการรักษาก็อาจส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันและการทำงานได้เลยค่ะ “มือสั่น” [...]

อ่านต่อ
ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร สัญญาณภาวะ “ตับอักเสบ”

‘ตับ’ เป็นอวัยวะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย… เอาแค่เรื่องนี้ก็อาจนับเป็นความรู้ใหม่แล้วสำหรับหลายๆ คนนะคะ นอกจากตับจะมีขนาดใหญ่ที่สุดแล้ว หน้าที่ของตับในการกรองของเสียและกำจัดสารพิษที่ตกค้างในร่างกายนั้นก็มีความยิ่งใหญ่ไม่แพ้กัน ดังนั้นการใส่ใจดูแลสุขภาพน้องตับของเราแท้จริงแล้วจึงมีความสำคัญ ไม่เช่นนั้นอาจนำมาซึ่งภาวะโรคตับอักเสบได้ค่ะ โรคตับอักเสบ เป็นภาวะที่เซลล์ตับเกิดการอักเสบ [...]

อ่านต่อ
คุณแน่ใจหรือ? ที่จะปล่อยให้ยูริกสูงต่อไป 

 โรคเกาต์โรคความดันโลหิตสูงโรคหลอดเลือดหัวใจนิ่วในทางเดินปัสสาวะไตวายเรื้อรัง โรคเหล่านี้เป็นผลพวงที่เกิดจากยูริกสูง  ดังนั้นจึงควรคุมอาหารที่ทําให้ยูริกสูง เช่น แอลกอฮอล์เพราะแอลกอฮอล์ทําให้ยูริกสูงมากที่สุด เลี่ยงน้ําตาลฟรุกโตสหรือน้ําตาลจากผลไม้ ยิ่งเครื่องดื่มทุกชนิดที่ใส่น้ำเชื่อมจะมีความหวานเป็นน้ําตาลฟรุกโตส เช่น น้ําอัดลม ชานม กาแฟใส่นม [...]

อ่านต่อ
อย่าปล่อยให้ฮอร์โมนไม่สมดุล!! “5 วิธีปรับสมดุลฮอร์โมนที่ไม่ควรพลาด”

ความไม่สมดุลของฮอร์โมนส่งผลกระทบต่อผู้คนหลายล้านคนทั่วโลก ในรูปแบบของความผิดปกติทั่วไป เช่น เบาหวาน ไทรอยด์ผิดปกติ ประจำเดือนมาไม่ปกติ ภาวะมีบุตรยาก ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนต่ำ และฮอร์โมนเอสโตรเจนครอบงำ เมื่อฮอร์โมนไม่สมดุลมักจะมีอาการรู้สึกกระวนกระวาย [...]

อ่านต่อ
รู้ไหม? โรคอะไรที่ผู้หญิงเสี่ยงเป็นมากกว่าผู้ชาย 🌸

การดูแลสุขภาพของผู้หญิงเป็นเรื่องสำคัญมาก เนื่องจากมีหลายโรคที่พบว่าเกิดกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันและฮอร์โมน มาดูกันว่าโรคอะไรบ้างที่ผู้หญิงต้องระวังเป็นพิเศษ และวิธีการดูแลตัวเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคเหล่านี้กันค่ะ 1. โรคปลอกประสาทอักเสบ (Multiple Sclerosis – [...]

อ่านต่อ